
Online Resources
Health Systems
Health Systems ถ้าพูดถึงระบบสุขภาพ คุณนึกถึงอะไร ?
รู้จักและเปิดมุมมองต่อระบบสุขภาพ และแนวคิด Systems Thinking มีบทบาทสำคัญอย่างไรในการพัฒนาระบบสุขภาพ
แนะนำเนื้อหาโดย
นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Systems Thinking
รวมความรู้พื้นฐาน เพื่อทำความเข้าใจหลักการคิดเชิงระบบ (Systems thinking)
วิธีคิดและเครื่องมือในการทำความเข้าใจหรือแก้ปัญหาที่มีความซับซ้อน
แนะนำเนื้อหาโดย
รศ.ดร.นพ.บวรศม ลีระพันธ์
Health System Science What and Why โดย นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การทำความเข้าใจแนวคิดระบบสุขภาพ และมุมมองการคิดเชิงระบบ (Systems thinking) เป็นเครื่องมือสำคัญที่จะช่วยให้สามารถคิดเชื่อมโยงสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างเข้าใจ และมองเห็นว่ายังมีองค์ประกอบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอีกหลายส่วน นำไปสู่กระบวนการทำงานพัฒนาระบบสุขภาพต่อไปได้
แนะนำเนื้อหาโดย
นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Systems Thinking for Health Systems Strengthening โดย WHO
เรียนรู้การประยุกต์ใช้ "การคิดเชิงระบบ" ในงานพัฒนาระบบสุขภาพ
เราจะสามารถนำแนวคิดนี้ไปทำงานร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียที่หลากหลายเพื่อออกแบบแนวทางปฏิบัติพัฒนางานเชิงระบบสุขภาพได้อย่างไรบ้าง
แนะนำเนื้อหาโดย
นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
กรณีศึกษา ลดคนล้นโรงพยาบาล ด้วยความคิดเชิงระบบกับ นพ.บวรศม ลีระพันธ์
ชวนมาวิเคราะห์สาเหตุลึกๆ ของปัญหาคนล้นโรงพยาบาล ที่มีมากกว่าแค่จำนวนหมอและโรงพยาบาลไม่สมดุลกับคนไข้ รวมไปถึงการทำความเข้าใจโครงสร้างของระบบสุขภาพ ที่ถ้าหาจุดคานงัดของระบบพบ แล้วเลือกแก้ตรงนั้นจะดีที่สุด
แนะนำเนื้อหาโดย
รศ.ดร.นพ.บวรศม ลีระพันธ์
รับมือ COVID-19 ด้วยกระบวนการคิดเชิงระบบ กับ นพ.บวรศม ลีระพันธ์
บทสัมภาษณ์รับมือ COVID-19 ด้วยกระบวนการคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) กับ นพ.บวรศม ลีระพันธ์
บทความนี้จะพาทุกคนไปทำความเข้าใจกับ Systems Thinking ให้มากขึ้น ในการนำมาประยุกติใช้กับการระบาดของโรคติดเชื้อ COVID-19
แนะนำเนื้อหาโดย
รศ.ดร.นพ.บวรศม ลีระพันธ์
หาจุดคานงัดอย่างไร จึงแก้ปัญหาเชิงระบบได้อย่างยั่งยืน
มาร่วมทำความเข้าใจการหาจุดคานงัด หรือ การแก้ปัญหาในจุดที่ใช้แรงน้อยที่สุดแต่ได้ผลลัพธ์สูงสุด ผ่านบทความ "หาจุดคานงัดอย่างไร จึงแก้ปัญหาเชิงระบบได้อย่างยั่งยืน" จาก @healthsystemsddlabs
แนะนำเนื้อหาโดย
รศ.ดร.นพ.บวรศม ลีระพันธ์
คิดครบ คิดลึก คิดยาว ชุดเครื่องมือของนักคิดเชิงระบบ
ในบทความนี้ Systems DD Lab จะพาทุกคนไปทำความเข้าใจว่า นักคิดเชิงระบบใช้กระบวนการคิด ทำความเข้าใจ และแก้ไขปัญหาในระบบที่ซับซ้อนอย่างไร เพื่อให้สามารถ 'คิดครบ คิดลึก คิดยาว' และมีเครื่องมืออะไรบ้างที่ช่วยวิเคราะห์ความซับซ้อนของระบบได้
แนะนำเนื้อหาโดย
รศ.ดร.นพ.บวรศม ลีระพันธ์
แชร์ประสบการณ์การทำงานกับผู้มีส่วนได้ส่วยเสียบนเส้นทางพัฒนาระบบส ุขภาพ
หัวใจสำคัญของการพัฒนาระบบสุขภาพ คือ การทำงานกับผู้มีส่วนได้เสีย หรือ Stakeholder Engagement เพื่อที่จะสร้างเครือข่ายความร่วมมือและทำงานต่อเนื่องในระยะยาวกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างราบรื่น
แนะนำเนื้อหาโดย
นพ. อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Five-step Approach to Stakeholder Engagement
รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นโดย BSR ซึ่งรวบรวมกลยุทธ์ วิธีการ จากประสบการณ์การทำงานของพวกเขาร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ โดยถูกเรียบเรียงออกมาเป็นแนวทางห้าขั้นตอนสู่การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
แนะนำเนื้อหาโดย
นพ. อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
A practical guide to leading large scale change
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมักจะมีจุดยืนและท่าทีแตกต่างกันไป
การทำความเข้าใจผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความสำคัญอย่างไร เราสามารถวิเคราะห์ท่าทีของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้อย่างไร สามารถศึกษาได้จากเอกสารชิ้นนี้
แนะนำเนื้อหาโดย
นพ. อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Policy Process : การบริหารจัดการงานวิจัยเพื่อเชื่อมต่อกับนโยบาย กรณีศึกษา HITAP
กรณีศึกษาของการบริหารจัดการงานวิจัยเพื่อเชื่อมต่อกับนโยบาย ของโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหนังสือชุดการบริหารจัดการงานวิจัย สกว. เล่มที่ 2
แนะนำเนื้อหาโดย
ดร.นพ. ยศ ตีระวัฒนานนท์