top of page

หาจุดคานงัดอย่างไร จึงแก้ปัญหาเชิงระบบได้อย่างยั่งยืน

มาร่วมทำความเข้าใจการหาจุดคานงัด หรือ การแก้ปัญหาในจุดที่ใช้แรงน้อยที่สุดแต่ได้ผลลัพธ์สูงสุด ผ่านบทความ "หาจุดคานงัดอย่างไร จึงแก้ปัญหาเชิงระบบได้อย่างยั่งยืน" จาก @healthsystemsddlabs

รศ.ดร.นพ.บวรศม ลีระพันธ์

แนะนำเนื้อหาโดย

รศ.ดร.นพ.บวรศม ลีระพันธ์

เนื้อหาเกี่ยวกับอะไร:

หาจุดคานงัดอย่างไร จึงแก้ปัญหาเชิงระบบได้อย่างยั่งยืน ?

หลังจากรู้จักเครื่องมือของกระบวนการคิดเชิงระบบแล้ว จะเห็นได้ว่า การสร้างการเปลี่ยนแปลงเชิงระบบ เป็นงานที่มีความซับซ้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในประเด็นที่เกี่ยวกับระบบสุขภาพ เพราะประกอบไปด้วยปัจจัยหลายส่วน


ถ้าเป้าหมายของการเปลี่ยนแปลงเชิงระบบคือ การยกก้อนหินก้อนใหญ่ เราจำเป็นต้องหาจุดคานงัดที่เหมาะสม เพื่อประหยัดแรงและเวลาที่จะออกแรงงัดก้อนหินก้อนนั้นให้เคลื่อนที่ หากเราหาจุดคานงัดที่ถูกจุดได้แล้ว งานยกก้อนหินก็ไม่ใช่เรื่องยาก


มาร่วมทำความเข้าใจการหาจุดคานงัด หรือ การแก้ปัญหาในจุดที่ใช้แรงน้อยที่สุดแต่ได้ผลลัพธ์สูงสุด ผ่านบทความ "หาจุดคานงัดอย่างไร จึงแก้ปัญหาเชิงระบบได้อย่างยั่งยืน" จาก @healthsystemsddlabs


แนะนำบทความ โดย ผศ. ดร.นพ.บวรศม ลีระพันธ์, ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาระบบสุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล และ ผู้ก่อตั้ง Health Systems DD Labs

แนะนำเนื้อหาโดย :

รศ.ดร.นพ.บวรศม ลีระพันธ์

ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาระบบสุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

รศ.ดร.นพ.บวรศม ลีระพันธ์
bottom of page