top of page
jib foi webface 17-18.png

โปรแกรมพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลงในระบบสุขภาพ
โดย มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.) 

FB-22.png
change-07.png
change-14.png
FB-24.png
กำหนดการโปรแกรม
PHD 2020 icon-54.png
วันนี้ - 31 สิงหาคม 2563

รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ

PHD 2020 icon-53.png
7-11 กันยายน 2563

คณะกรรมการคัดเลือกใบสมัคร

PHD 2020 icon-52.png
14-17 กันยายน 2563

สัมภาษณ์ผู้ผ่านการคัดเลือกรอบใบสมัคร

PHD 2020 icon-51.png
21 กันยายน 2563

ประกาศผลการคัดเลือก

PHD 2020 icon-46.png
ตุลาคม 2563

เริ่มต้นโปรแกรม Positive Health Disruptor

PHD 2020 icon-45.png
2 ตุลาคม 2563

กิจกรรม Orientation ผู้เข้าร่วมโปรแกรม (Online)

PHD 2020 icon-44.png
3-8 ตุลาคม 2563

เรียนรู้แนวคิดพัฒนาระบบสุขภาพจากวิทยากรต่างๆ ของโปรแกรม ใน Online Module เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองจากสื่อต่างๆ ที่วิทยากรเตรียมไว้ให้ พร้อมกับทำแบบฝึกหัดเพื่อพัฒนาการทำงานเชิงระบบ และนำประเด็นไปแลกเปลี่ยนกันในกิจกรรมต่อๆ ไป

PHD 2020 icon-43.png
9 ตุลาคม 2563

กิจกรรม Group Discussion (Online) เพื่อแลกเปลี่ยนผลการเรียนรู้ และพัฒนาโครงการร่วมกับวิทยากรในโปรแกรม (2-3 ชั่วโมง)

PHD 2020 icon-46.png
12 ตุลาคม 2563

กิจกรรม Cohort Reflection (Online) เพื่อสรุปความคิดและแชร์ประสบการณ์กับผู้เข้าร่วมโปรแกรมอื่นๆ (2 ชั่วโมง)

PHD 2020 icon-45.png
16 ตุลาคม 2563

กิจกรรม Group Discussion (Online) เพื่อแลกเปลี่ยนผลการเรียนรู้ และพัฒนาโครงการร่วมกับวิทยากรในโปรแกรม (2-3 ชั่วโมง)

PHD 2020 icon-44.png
19 ตุลาคม 2563

กิจกรรม Cohort Reflection (Online) เพื่อสรุปความคิดและแชร์ประสบการณ์กับผู้เข้าร่วมโปรแกรมอื่นๆ (2 ชั่วโมง)

PHD 2020 icon-43.png
23 ตุลาคม 2563

กิจกรรม Group Discussion (Online) เพื่อแลกเปลี่ยนผลการเรียนรู้ และพัฒนาโครงการร่วมกับวิทยากรในโปรแกรม (2-3 ชั่วโมง)

PHD 2020 icon-46.png
26 ตุลาคม 2563

ผู้เข้าร่วมโปรแกรมสรุปและนำเสนอแนวคิดการทำงานพัฒนาระบบสุขภาพ

PHD 2020 icon-48.png
2 พฤศจิกายน 2563

เข้าสู่โปรแกรมระยะที่ 2
กิจกรรม Cohort Reflection (Online) เพื่อสรุปความคิดและแชร์ประสบการณ์กับผู้เข้าร่วมโปรแกรมอื่นๆ (2 ชั่วโมง)

PHD 2020 icon-49.png
6 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรม Mentoring Session (Online) พัฒนาแนวคิดการทำงานและความเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงร่วมกับ Mentor ในโปรแกรม (2-3 ชั่วโมง)

PHD 2020 icon-50.png
9 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรม Cohort Reflection (Online) เพื่อสรุปความคิดและแชร์ประสบการณ์กับผู้เข้าร่วมโปรแกรมอื่นๆ (2 ชั่วโมง)

PHD 2020 icon-47.png
13 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรม Mentoring Session (Online) พัฒนาแนวคิดการทำงานและความเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงร่วมกับ Mentor ในโปรแกรม (2-3 ชั่วโมง)

PHD 2020 icon-48.png
16 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรม Cohort Reflection (Online) เพื่อสรุปความคิดและแชร์ประสบการณ์กับผู้เข้าร่วมโปรแกรมอื่นๆ (2 ชั่วโมง)

PHD 2020 icon-49.png
20 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรม Mentoring Session (Online) พัฒนาแนวคิดการทำงานและความเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงร่วมกับ Mentor ในโปรแกรม (2-3 ชั่วโมง)

PHD 2020 icon-50.png
23 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรม Cohort Reflection (Online) เพื่อสรุปความคิดและแชร์ประสบการณ์กับผู้เข้าร่วมโปรแกรมอื่นๆ (2 ชั่วโมง)

PHD 2020 icon-47.png
27 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรม Mentoring Session (Online) พัฒนาแนวคิดการทำงานและความเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงร่วมกับ Mentor ในโปรแกรม (2-3 ชั่วโมง)

PHD 2020 icon-48.png
30 พฤศจิกายน 2563

ผู้เข้าร่วมโปรแกรมสรุปและนำเสนอกลยุทธ์และแผนการทำงานเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพในระยะที่ 3-4 ของโปรแกรม

PHD 2020 icon-39.png
ธันวาคม 2563

กระบวนการพิจารณาคัดเลือกผู้เข้าร่วมโปรแกรม พิจารณาจากข้อเสนอแนวคิด กลยุทธ์และแผนการทำงานเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพในระยะที่ 3-4 โดยมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.), Mentor, และทีมงานโปรแกรม และจัดหา Mentor ที่เหมาะสมกับผู้ผ่านการคัดเลือก และเริ่มต้นการทำงานร่วมกัน

PHD 2020 icon-42.png
มกราคม 2564

เข้าสู่โปรแกรมระยะที่ 3

- ผู้เข้าร่วมโปรแกรมและ Mentor ทำงานร่วมกันเพื่อพัฒนาแนวคิดและแผนกลยุทธ์ ให้สามารถสร้างความเข้าใจ สร้างความร่วมมือกับ Key Stakeholders กลุ่มต่างๆ ในระบบสุขภาพได้

- เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับที่ปรึกษาในกิจกรรม Mentoring ครั้งละ 1-2 ชั่วโมง / สัปดาห์
- เข้าร่วมกิจกรรม Cohort Reflection เพื่อสรุปความคิดและบทเรียนที่ได้รับกับกลุ่มผู้เข้าร่วมโปรแกรม 2 ชั่วโมง ทุกๆ 2 สัปดาห์

PHD 2020 icon-40.png
กุมภาพันธ์ 2564

- ผู้เข้าร่วมโปรแกรมพัฒนาข้อเสนอโครงการเพื่อหาเงินทุนสนับสนุนการทำงานจากแหล่งทุนภายนอก โดยการสนับสนุนจากมูลนิธิสาธรณสุขแห่งชาติ (มสช.) และ Mentor
- เข้าร่วมกิจกรรม Mentoring แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับที่ปรึกษาในกิจกรรม Mentoring ครั้งละ 1-2 ชั่วโมง / สัปดาห์- เข้าร่วมกิจกรรม Cohort Reflection เพื่อสรุปความคิดและบทเรียนที่ได้รับกับกลุ่มผู้เข้าร่วมโปรแกรม 2 ชั่วโมง ทุกๆ 2 สัปดาห์

PHD 2020 icon-54.png
มีนาคม - กันยายน 2564

เข้าสู่โปรแกรมระยะที่ 4 
- ผู้เข้าร่วมโปรแกรมดำเนินการทำโครงการพัฒนาระบบสุขภาพตามกลยุทธ์และแผนการที่วางไว้ ร่วมกับ Stakeholder

- เข้าร่วมกิจกรรม Mentoring แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับ Mentor ครั้งละ 1-2 ชั่วโมง / สัปดาห์

- เข้าร่วมกิจกรรม Cohort Reflection เพื่อสรุปความคิดและบทเรียนที่ได้รับกับกลุ่มผู้เข้าร่วมโปรแกรม 2-3 ชั่วโมง / เดือน

- ผู้เข้าร่วมโปรแกรมสรุปผลการทำงานพัฒนาระบบสุขภาพ บทเรียนที่ได้รับ และแนวทางในการทำงานต่อ นำเสนอให้กับโปรแกรมและมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.) 1 ครั้ง/เดือน

PHD 2020 icon-53.png
กิจกรรมเพิ่มเติมเดือน สิงหาคม 2564

- ผู้เข้าร่วมโปรแกรมสรุปผลการทำงานพัฒนาระบบสุขภาพ และนำเสนอแนวคิดในการทำงานอย่างต่อเนื่องหลังจบโปรแกรม Positive Health Disruptor นำเสนอให้ Mentor, มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.)

PHD 2020 icon-52.png
กิจกรรมเพิ่มเติมเดือน กันยายน 2564

- เข้าร่วมกิจกรรมถอดบทเรียนและประเมินผล เพื่อนำไปพัฒนาโปรแกรม Positive Health Disruptor ต่อไป

change-06.png
PHD 2020 icon-46.png
change-13.png

หมายเหตุ : กำหนดการโดยละเอียดของโปรแกรมในระยะที่ 3-4 จะแจ้งเพิ่มเติมภายหลัง โดยกิจกรรมส่วนใหญ่จะจัดทาง Online เพื่อความสะดวกในการเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เข้าร่วมโปรแกรมจากทั่วประเทศ และเสริมด้วยกิจกรรม Offline ที่ทุกคนจะได้มาพบกัน เพื่อทำความรู้จักและสร้างเครือข่ายกัน

รายละเอียดการสมัครเข้าร่วมโปรแกรม
คุณสมบัติผู้สมัคร

- เป็นผู้ที่สนใจการพัฒนาระบบสุขภาพ ด้วยการคิดเชิงระบบ (System Thinking) ผสมผสานการใช้ความรู้ การมีส่วนร่วมของประชาชน และการทำงานกับผู้มีอำนาจตัดสินใจ
 

- ผู้ที่มีประสบการณ์ทำงานเกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพ ต้องการสร้างการเปลี่ยนแปลงในระดับประเทศหรือระดับองค์กร
 

- ผู้ที่พร้อมเรียนรู้จากการลงมือทำงานพัฒนาระบบสุขภาพจริง เปิดกว้างกับความซับซ้อนของระบบสุขภาพ เปิดรับความคิดเห็นใหม่ มุมมองใหม่จาก stakeholder, ที่ปรึกษาและผู้เข้าร่วมโปรแกรมคนอื่นๆ และสามารถปรับตัวได้อย่างรวดเร็ว
 

- สามารถจัดการเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรมโปรแกรม อย่างน้อย 2 วัน/สัปดาห์ ตลอด 12 เดือน เพื่อทำงานขับเคลื่อนประเด็นที่สนใจ เรียนรู้ร่วมกับที่ปรึกษา สามารถจัดการเรียนรู้ด้วยตนเอง สะท้อนคิดบทเรียนจากการทำงาน และแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้เข้าร่วมโปรแกรมคนอื่นๆ

- หากประเด็นที่ต้องการชับเคลื่อนในระบบสุขภาพ ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัด จะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ

ขั้นตอนการสมัคร

- กรอกข้อมูลใบสมัครทางแบบฟอร์ม Online และ upload เอกสารเพิ่มเติมพร้อมกับใบสมัคร (ทีมงานแนะนำให้เตรียมเอกสารแนบให้เรียบร้อยก่อน เนื่องจากใบสมัครไม่สามารถบันทึกผลและมากรอกเพิ่มเติมภายหลังได้)

- ปิดรับสมัครวันที่ 31 สิงหาคม เวลา 23.59 น. ทีมงานขอพิจารณาไม่รับใบสมัครที่ส่งเข้ามาหลังเวลาที่กำหนด

- คณะกรรมการจะพิจารณาคัดเลือกรอบที่ 1 จากข้อมูลในใบสมัคร และติดต่อผู้ผ่านการคัดเลือกใบสมัคร เพื่อสัมภาษณ์เพิ่มเติมและคัดเลือกรอบที่ 2 จากนั้นจะประกาศผลผู้เข้าร่วมโปรแกรม

- ผุ้สมัครเข้าร่วมโปรแกรมยอมรับและปฏิบัติตามขั้นตอนที่ระบุไว้ข้างต้นทุกประการ และการตัดสินของกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด

ติดต่อสอบถาม
  • Facebook
  • Circle-icons-mail.svg
  • Messenger_Logo_Color_RGB
bottom of page